17 ธันวาคม 2555

การ setting ค่า memory php โดยใช้ .htaccess

http://www.pacecode.com/blog/2008/09/22/magic-with-htaccess-file-increase-execution-time-session-expiry-time-and-file-upload-size-limit/


การแสดงค่าหน่วยความจำที่ใช้ไปของ php  echo memory_get_usage() 

23 มีนาคม 2555

web register site. free and paid

Recommended Free Directories

Dmoz.org
JoeAnt.com
Jayde.com
Gimpsy.com
Illumirate.com
Webworldindex.com
Skaffe.com
Websavvy.cc
Directory.uquick.com
Bizweb.com
Dc2net.com
MavicaNet.com
Onemission.com
Re-quest.net
Xoron.com
Thedirectorysite.com
Netinsert.com
Bhanvad.com
Somuch.com
Web-Beacon.com
Yeandi.com
Galaxy.com
WOWDirectory.com
IMLnetworks.com

Recommended Paid Directories

Yahoo.com
Business.com
sbd.bcentral.com

19 มีนาคม 2555

จัดตัวอักษร ให้หัวท้ายเท่ากัน

โดยใช้คำสั่ง style="text-align:justify"

จะได้รูปแบบดังนี้

เว็บ เว็บ เว็บ เว็บ เว็บ
เว็บ เว็บ เว็บ เว็บ เว็บ
เว็บ เว็บ เว็บ เว็บ เว็บ

28 กุมภาพันธ์ 2555

รูปแบบการโปรโมทเว็บไซต์ เพื่อการตลาด

เทคนิคทั้ง 4 ประเภทนี้ เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือ การทำเว็บไซต์ให้มีรายได้ ต้องอาศัยการนำเทคนิค ต่างๆ มาใช้งานร่วมกัน


เครื่องมือวิเคราะห์ผลทั่วไป เช่น TwitAnalyzer, SocialBakers, Twentyfeet

27 กุมภาพันธ์ 2555

ตั้งค่าการอัพโหลดไฟล์ใหญ่ๆ ใน php.ini



webserver settings:
connection timeout = 1800

php.ini settings:
max_execution_time = 1800 
memory_limit = 50M 
post_max_size = 50M 
file_uploads = On 
upload_tmp_dir = c:\php\upload_temp 
upload_max_filesize = 50M

How to Upload Large Files in PHP

php_value upload_max_filesize 10M
php_value post_max_size 10M
php_value max_input_time 300
php_value max_execution_time 300

ini_set('upload_max_filesize', '10M');
ini_set('post_max_size', '10M');
ini_set('max_input_time', 300);
ini_set('max_execution_time', 300);

PHP also provides a set_time_limit() function so you don’t need to set max_execution_time directly.
Setting the options in your PHP code is possibly more practical, since you can extend the execution time and increase the file size when your application is expecting a large upload. Other forms would revert to the default 30-second time-out and 2MB limit.


เครื่องมือ php
http://blog.limedomains.com/2010/06/02/15-useful-php-tools/

Help you สำหรับผู้ใช้โน๊ตบุ๊ค Toshiba

Download Driver Toshiba Notebook 2011

รุ่น NB 500 / 505/ 520

รุ่น Satellite L730/L735 Series
หมายเหตุ : Driver สำหรับ XP อาจจะยังไม่สมบูรณ์ บางตัว  อันเนื่องจากเครื่องรุ่นใหม่จะ Support Windows ใหม่ ๆ มากกว่าครับ คงต้องรอว่าจะมี Driver ของ XP ออกมาใหม่หรือไม่ครับ 
สำหรับรุ่น L730 ด้านล่าง ใช้ driver บางตัวตามนี้นะครับ ที่เหลือก็ด้านบนเหมือนเดิมครับ
L730-1001UT   (PSK75L-004003)

L730-1002XT   (PSK79L-001001)
PSK75L_32BIT Display intel HD for win7 PSK75L_64BIT Display intel HD for win7

PSK79L_32BIT Display  Nvidia for win7 Nvidia HD Audio
PSK79L_64BIT Display  Nvidia for win7  Nvidia HD Audio



intel Chipset
intel Management
intel Rapid Storage
Sound Conexant
Card Reader Realtek
Driver wireless lan Driver Lan
Driver  Bluetooth   


รุ่น Satellite L740/L745 Series

9 กุมภาพันธ์ 2555

มาทำ breadcrumb ในบล๊อก wordpress ใช้กันเองดีกว่า

มาทำ breadcrumb ในบล๊อก wordpress ใช้กันเองดีกว่า

โดย abxnet / โพสต์เมื่อ 16 กรกฎาคม 2011
ถ้าพูดถึง breadcrumb หลายๆคน  คงยังงงอยู่ว่ามันคืออะไร  แต่สำหรับหลายคนที่ทำ SEO ก็อาจจะรู้จักกันดี แต่ผมว่าก็อาจไม่ทุกคน เดียววันนี้ผมจะมาทำให้มันกระจ่างถ่องแท้ว่ามันคืออะไร เกี่ยวข้องกับ wordpress และ SEO อย่างไร

breadcrumb คืออะไร และส่งผลดีต่อ SEO อย่างไร ?

breadcrumb ถ้าแปลความหมายตรงตัวก็หมายถึง
bread = ขนมปัง crumb = เศษ  แปลรวมกันแล้วก็หมายถึง  bread + crumb = เศษขนมปัง
งงกันเลยดิครับ ที่ผมแปลให้ดูเพื่อให้เห็นรากศัพท์ของมัน ซึ่งมันก็ตลกดี เดียวเรามาดูตัวอย่างภาพของจริงกันก่อนเลยดีกว่า

มาทำ breadcrumb ในบล๊อก wordpress
รูปเว็บตัวอย่างที่มีการใช้ breadcrumb ในเว็บไซต์
google-seo-breadcrumbs
รูปผลลัพธ์ที่ใช้ breadcrumb แล้ว google เอาไปแสดงในหน้าผลลัพธ์การค้นหา
ถ้าดูจากตัวอย่าง ผมคิดหลายคนคงเข้าใจบ้างแล้วว่ามันคืออะไร และมีประโยชน์ กับ SEO ของเว็บของเราอย่าง แต่ผมจะขอสรุปสั้นๆนะครับ  breadcrumb ก็คือเครื่องมือที่ใช้นำทางในเว็บของเราให้รู้ว่าตอนนี้เราอยู่ส่วนไหนของ เว็บไซต์ อยู่ลึกจากหน้าหลัก หรือ ว่า homepage เข้ามาเท่าไร ซึ่งแต่ละเว็บไซต์ก็จะไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับโครงสร้างของเว็บไซต์แต่ละเว็บ ส่วนที่ส่งผลต่อ SEO นั้นก็คงตามภาพที่ 2 ที่ท่านเห็น google จะนำส่วนของ breadcrumb ไปแสดงที่หน้าของผลการค้นหาด้วย
เราจะแสดง breadcrumb ในเว็บ wordpress ของเราอย่างไร ?
ก่อนอื่นในเว็บ wordpress ของคุณต้องมีไฟล์ function.php ก่อนถ้าไม่มีให้สร้างไว้ใน โฟล์เดอร์ ธีมที่คุณใช้อยู่ก่อน หลังจากนั้นก็ก็อปปี้ โค็ดด้านล่างไปไว้ใน function.php
function the_breadcrumb() {
 echo 'You are here: ';
 if (!is_front_page()) {
  echo 'Home';
 echo " » ";
  if (is_category() || is_single()) {
   the_category(' ');
   if (is_single()) {
    echo " » ";
    the_title();
   }
  } elseif (is_page()) {
   echo the_title();
  }
 }
 else {
  echo 'Home';
 }
}
อธิบายโค้ด
function the_breadcrumb() {
บรรดทัดที่ 1 :
เป็นการสร้างฟังก์ชัน the_breadcrumb() ขึ้นมา
echo 'You are here: ';
บรรดทัดที่ 2 :
ให้แสดงคำว่า You are here: ขึ้นเริ่มต้น แต่ถ้าไม่ชอบคำนี้ก็เปลี่ยนได้ครับ อาจจะเป็นคำว่า "คุณอยู่ที่" เป็นต้น
if (!is_front_page()) {
  echo 'Home';
 echo " » ";
บรรทัดที่ 3 – 7:
ฟังก์ชัน !is_front_page() เป็นการตรวจสอบว่าไม่ใช่หน้าแรกหรือไม่ ถ้าไม่ใช่หน้าแรกให้แสดงค่าในเงื่อนไข โดยในที่นี้ให้แสดง  ลิงค์หน้าแรกหรือ homepage ไปยังคำว่า Home > ในบรรทัดที่ 6 แล้วลิงค์ URL โดยเรียกใช้ฟังก์ของ wordpress get_option(‘home’) ในบรรทัดที่ 5
if (is_category() || is_single()) {
   the_category(' ');
   if (is_single()) {
    echo " » ";
    the_title();
   }
บรรดทัด 8 -13:
is_category() เป็นการตรวจสอบว่า แสดงหน้า category อยู่หรือไม่ is_single() เป็นการตรวจสอบว่า แสดงหน้าบทความหรือไม่ ถ้าแสดงหน้า category ให้แสดงชื่อ category ถ้าแสดงหน้าบทความให้แสดง ชื่อ category > และชื่อบทความ
} elseif (is_page()) {
   echo the_title();
  }
 }
บรรดทัด 14 – 17:
ตรวจสอบว่าแสดงหน้า page หรือไม่ ถ้าแสดงอยู่ให้แสดง title ของ หน้า page
else {
  echo 'Home';
 }
}
บรรดทัด 18 – 21:
ถ้าไม่ใช่หน้า category,บทความ หรือหน้า page ให้แสดงข้อความว่า Home
เสร็จแล้วเมื่อเราต้องการจะแสดง breadcrumb ก็แทรกโค้ดด้านล่าง ลงไปในส่วนที่ต้องการในธีม




The First Solution: Use Relative File Paths

A web server will automatically assume that the code below belongs on the server, and thus, is not a remote file:
PHP Include File With Relative Paths

include (header.php); //This file is in the same directory as the PHP file

include (includes/header.php); //This file is in a directory under the PHP file

include (../header.php); //This file is in the directory above the current PHP file

?>
Relative file paths can be used in every legitimate situation an absolute path would be used, although it may take a little more work. As in the example above, you may have to work at determining where the file you wish to include exists in relation to the PHP file being run.
Not your idea of fun? We aren’t fond of it either, so on to the next solution!

The Second Solution: Use Another PHP Function

We may substitute the include statement with file_get_contents, which reads an entire file into a string.
PHP Include With File_Get_Contents

= file_get_contents("http://www.YourDomain.com/includes/header.php");

echo $includeFile;
?>


This is a good alternative to keep the absolute path an option in including a certain file. There are some instances where the above code wouldn’t come out as planned, depending on the situation. In addition, it adds another line of code that we can relinquish with the best solution: using a server variable.

The Best Solution: Using Server Variables

If you don’t want to spend hours rearranging code, you can do it the easy way with $_SERVER['DOCUMENT_ROOT'].
PHP Include Server Variables

include $_SERVER['DOCUMENT_ROOT'] . '/includes/header.php'; 

?>


This allows you to keep the absolute path that you’ve come to be familiar with in using the include statement. Technically, the $_SERVER['DOCUMENT_ROOT'] command gives your path to the public_html directory, as seen below:

  • /home/Your_Username/public_html

  • Essentially this is the root of your website, www.YourDomain.com, and therefore, you can use it just as you would with any other include statement. Just replace www.YourDomain.com with the server variable and you’re set!

    17 มกราคม 2555

    php เบื้องต้น

    เรียนรู้ php เบื้องต้น

    entry นี้สำหรับผู้ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับ php เบื้องต้น

    หากคุณเป็นคนหนึ่งที่ไม่เคยเขียนภาษาคอมมาก่อน ผมหวังว่าบทความนี้จะพอทำให้คุณรู้เรื่อง php ขึ้นมาอีกสักนิด

    การที่คุณจะเรียนรู้ในการเขียนโค้ดด้วยภาษา php นั้น คุณควรมี Apache หรือโปรแกรมอื่น ที่จำลอง webserver ไว้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ และอีกโปรแกรมที่ควรใช้ให้เป็นคือ Dreamweaver หรือโปรแกรมเขียนโค้ดอื่นๆ เช่น notepad , editplus เป็นต้น สำหรับผู้เริ่มใช้อาจจะลองใช้ editplus ก่อนก็ได้ครับ เพราะตัวโปรแกรมไม่ยุ่งยากเท่า Dreamweaver

    เรามารู้จัก php กันสักนิดนะครับ

    php ย่อมาจาก PHP Hypertext Preprocessor เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของภาษาสคริป ซึ่งทำให้เว็บเพจของคุณเกิดความ dynamic มากขึ้นกว่าการเขียนด้วย html ธรรมดา การโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้ดีกว่า หากคุณเคยเขียนโค้ดมาบ้าง จะง่ายยิ่งขึ้นในการเรียนรู้ครับ

    ในการเขียน php นั้นจะมีรูปแบบดังนี้
    <? 
    คำสั่ง;
    ?>

    หากเขียนร่วมกับ xhtml ควรเขียนดังนี้

    <?php
    คำสั่ง;
    ?>
    ==========================

    เริ่มแรกในการเรียนรู้คือการลองจริง คุณควรลองเขียนโค้ดเล็กๆ ง่ายๆ ออกมาก่อน ตัวอย่าง

    ผมต้องการแสดงคำว่า "Hello Thailand" ผมควรเขียนโค้ดอย่างไร

    <?php
    $test = 'test';
    $test2 = 1;
    echo $test.$test2; 
    ?> 

    จะได้ดังรูปนี้ครับ

    การเขียนคำสั่งให้พิมพ์คำออกมานั้นต้องใช้ echo ''; ช่วย ซึ่งเราจะเขียนด้วย " " หรือ ' ' ก็ได้ ด้านในคือประโยคที่ต้องการครับ เขียนร่วมกับ html ได้ เช่นคุณอยากจะให้ขึ้นบรรทัดใหม่ ดังตัวอย่าง

    ผมต้องการแสดงคำว่า "Hello Thailand" ขึ้นบรรทัดใหม่ว่า "Sawadee" ควรเขียนโค้ดอย่างไร

    sawadee";

    ?>

    จะได้ดังรูปนี้ครับ


    จะใช้ br หรือ p ก็ได้ครับ


    ตัวอย่างการเขียนโค้ด php แบบแสดงค่าที่กำหนด

    <?php
    $test = 'test';
    $test2 = 1;
    echo $test.$test2; 
    ?> 

    ค่าที่แสดงจะได้ดังรูปนี้

    คำอธิบาย :

    $test เป็นตัวแปรที่เรากำหนดมาโดยให้ชื่อว่า test การใส่ $ ข้างหน้าจะแสดงถึงตัวแปร
    $test2 ก็เช่นกัน เรากำหนดให้เป็นตัวประโยคโดยใช้ ' ' ครอบประโยคหรือข้อความตามต้องการ จะใช้ " " แทนก็ได้เช่นกัน

    ส่วนค่าตัวเลข เราสามารถกำหนดโดยไม่ต้องใช้ฟันหนูครอบก็ได้



    การเขียนโค้ด html ในคำสั่ง php มีวิธีการเขียนดังนี้

    1. เขียนใน print ""; หรือ echo "";

    2. ให้ระวังเรื่อง " " และ ' ' ให้ดีั ในกรณีดังต่อไปนี้

    echo '<a href="http://rije.exteen.com">Rije\'s Blog</a>';
    จะเห็นว่าในคำสั่ง html เราใช้ " " และของ php เราใช้ ' ' หากในโค้ด html เราจำเป็นต้องใช้ ' เช่น Rije's Blog หน้า ' เราต้องใส่ \ ข้างหน้า จะทำให้ระบบไม่อ่าน ' เป็นโค้ดไป อีกตัวอย่าง
    echo "<a href=\"http://rije.exteen.com\">Rije's Blog</a>";
    จะเห็นว่า php เราใช้ " " ครอบ และใน html เราก็ใช้ " " เช่นกัน แต่มี \ ข้างหน้า เนื่องจากคำสั่ง html นั้นอยู่ในค่ำสั่ง php อีกชั้น หากเราไม่ใส่ \ ข้างหน้า โค้ดจะตัดที่
    echo "<a href="
    อย่างนี้แทน ทำให้คำสั่ง html เราไม่สมบูรณ์ และโค้ด php ก็ขาด จะเกิด error ขึ้นได้
    เพราะฉะนั้นในการเขียน html ใน php ต้องระมัดระวังเรื่อง ' ' และ " " ให้ดี
     
    3. หากโค้ดมี html และ php รวมกัน ตัวอย่างเช่น เรากำหนดค่าตัวแปรใน php ชื่อ $test ขึ้นมา และต้องการให้แสดงระหว่างโค้ด html ต้องเขียนดังนี้
    $test="Rije's Blog"; 
    echo '<a href="http://rije.exteen.com">'.$test.'</a>';



    จะเห็นว่าเราปิดคำสั่งด้วย ' ก่อนจากนั้น . และตามด้วยตัวแปร หากใส่โค้ดต่อก็ต้อง . แล้วเปิดคำสั่งด้วย ' เหมือนกันเสมอ

    ตัวอย่างที่แสดงจะเป็นดังภาพนี้


    การเขียน if , else , elseif/else if

    ในการเขียน php การใช้ if else นั้นเป็นเรื่องสำคัญ เพราะได้นำมาใช้จริงอย่างแน่นอนครับ ตัวอย่างการใช้ทั้ง 3 แบบ

    1. if(คำสั่ง){ค่าที่แสดงตามคำสั่ง}
    $test="test";
    if($test=="test") echo "yes";
    ในกรณีนี้ เรากำหนด $test จากนั้นใช้ if มาหาค่าว่า "ถ้าหากว่า $test มีค่าเป็น test จริงให้แสดง yes ออกมา" หากค่าไม่ใช่ test ก็จะหลุดจาก if และไม่แสดงค่าใดๆ ครับ


    2. if(คำสั่ง){ค่าที่แสดงตามคำสั่ง} else{แสดงหากได้่ค่าอื่น}
    $test="test";
    if($test=="test2"){
    echo "yes";

    else {
    echo "no";


    จากโค้ดข้างต้นจะเห็นว่า เรากำหนดค่า $test ขึ้นมาให้มีค่า test ในคำสั่ง if else คือ "หากค่า $test มีค่าเท่ากับ test2 จริงๆ ให้แสดงค่า yes แต่หากไม่ใช่ให้แสดงค่า no" ดังนั้นค่าที่แสดงจึงเป็น no นั่นเองครับ


    3. if(คำสั่ง1){แสดงค่าของคำสั่ง 1} else if(คำสั่ง2){แสดงค่าคำสั่ง 2} else{แสดงค่าอื่นนอกเหนือจากคำสั่ง}
    ในกรณีนี้ เราต้องการคำนวณหรือเทียบค่าตามคำสั่งหลายชั้น หากค่าสั่งที่ 1 ไม่เป็นจริง ก็จะไปต่อคำสั่งที่ 2 หากไม่เป็นจริงจะหลุดจากลูป if ไปที่ else จบคำสั่ง ตัวอย่าง
    $test = 4+4;
    if($test==5){
    echo "5";
    }
    else if($test=8){
    echo "8";
    }
    else{
    echo "wrong";
    }
    จาำโค้ดข้างต้นจะเห็นว่า เราได้กำหนดค่า $test เป็น 4+4 คำตอบที่ถูกต้องคือ 8 จะได้ว่า "หาก ค่า $test เป็น 5 ให้แสดงค่า 5 แต่ถ้า $test เป็น 8 ให้แสดงค่า 8 แต่หากค่า $test ไม่เป็นดังคำสั่งทั้งหมดก็จะแสดงคำว่า wrong ออกมา" ดังนั้นจากคำสั่งจึงแสดงค่า 8 ออกมาครับ




    สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ควรรู้
    ==  หมายความว่า  เท่ากับ
    !=  หมายความว่า  ไม่เท่ากับ
    <  หมายความว่า  น้อยกว่า
    >  หมายความว่า  มากกว่า
    <=  หมายความว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ
    >=  หมายความว่า  มากกว่าหรือเท่ากับ
    +=  หมายความว่า  ค่าที่มีอยู่ + ค่าหลัง =
    $a=1;
    $b=2;
    $a+=$b;

    ค่า $a ที่ได้จะเป็น 3 
    -=  หมายความว่า  ค่าที่มีอยู่ - ค่าหลัง =
    $a-=$b;
    ค่า $a ที่ได้จะเป็น -1 
    .=  หมายความว่า  เชื่อมคำกับค่าที่มีอยู่
    $a = "you";
    $a .= " & ";
    $a .= "i";
    $a จะได้ค่าเป็น "you & i" ครับ 
     
    การส่งค่ารับค่า
    ในการเขียนคำสั่งให้ส่งค่าและรับค่าใน php นั้นไม่ใช่เรื่ืองยากเลยครับ หากผมสร้างแบบฟอร์มขึ้น ให้กรอกค่าใดๆ ก็ได้ เมื่อกด submit ค่าที่เรากรอกก็จะไปแสดงในหน้าเดิมนั้น หรือจะให้แสดงในหน้าเพจใหม่ก็แล้วแต่ครับ หากเขียนให้แสดงในหน้าเดิม เราจะเขียนโค้ดแค่ไฟล์เดียว แต่หากแสดงหน้าอื่นเราต้องเขียน 2 ไฟล์ครับ ผมจะยกตัวอย่างส่งค่าในหน้าเพจเดิมครับ ซึ่งตัวอย่างผมเขียน html + php นะครับ
    <?php
    $show = $_POST['test']; 
    if($show!=""){
    echo $show;
    }
    echo '<form action="'.$PHP_SELF.'" method="post">
    <input type="text" name="test"><br>
    <input type="submit" name="submit" value="show"
    </form>'; 
    ?>
    จะได้ดังภาพนี้ครับ


    เมื่อกรอกข้อมูลลงไปกด show จะเป็นดังภาพนี้ครับ

    อธิบายยาวเหยียด :
    จากโค้ดข้างต้นจะเห็นว่า ผมกำหนดค่า $test เป็น $_POST['test'] ในที่นี้ทำไมผมจึงใช้ $_POST[] นั่นก็เพราะว่า
    ค่าจาก form เราส่งค่า method มาแบบ post และใน input ค่านั้นเราใช้ชื่อว่า test  หมายความว่า เราส่งค่า test ซึ่งเก็บค่าที่เรากรอกเอาไว้มาในรูปแบบ post ในการรับค่าจาก form นั้นเราต้องเขียนโค้ดรับค่าโดยใช้ $_POST[] รับค่าแบบ post มา หากส่งค่าแบบ get ก็จะใช้ $_GET[] ครับ
    ผมส่งค่ากลับมาเพจเดิมใช้ action แบบนี้ครับ
    action ="'.$PHP_SELF.'"
    เป็นการส่งค่ากลับคืนเพจเดิม ผมใช้ '.คำสั่ง.' คั่นกลาง เพราะเป็นโค้ด php คั่นกลางระหว่าง html เราต้องปิด ' ที่เปิดไว้ตรง echo ' เสียก่อน การใส่ค่าตัวแปรต้องใช้ . ตามด้วยตัวแปรนั้นๆ หากไม่จบคำสั่ง echo ก็ใช้ .' เปิดเขียนโค้ดต่อ เมื่อจบจึงตามด้วย '; ครับ 
    ผมกำหนดค่า $show ให้มารับค่าจา่ก $_POST['test'] เอาไว้ และนำไปคำนวณใน if
    "ถ้าหากว่าค่า $show ไม่ใช่ค่าว่าง ให้แสดงค่า $show ออกมา"
    และหากเป็นค่าว่างก็จะไม่แสดงค่า แต่จะขึ้น form มาให้กรอกครับ และแม้จะมีค่า $show ก็ยังมี form ให้กรอกเช่นกัน เพราะถัดจาก if ไม่มีค่าใดๆ มากำหนดว่า หากมีค่า $show แล้วต้องไม่แสดง form หากต้องการให้ไม่แสดง form เมื่อมีค่า $show เราต้องใช้ else มาเพิ่ม โดยนำ echo ที่ข้างในคำสั่งมีคำสั่ง form ไว้ข้างใน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
    else{
     
    echo '<form action="page.php" method="post">
    <input type="text" name="test"><br>
    <input type="submit" name="submit" value="show"
    </form>';
    } 
    เมื่อกรอกค่า ค่าที่แสดงจะเป็นดังภาพนี้ครับ


    ไม่ยากเลยใช่ไหมครับ 
    นี่เป็นพื้นฐานเบื้องต้นเท่านั้นครับ หากต้องการเรียนรู้เจาะลึกมากกว่านี้ ผมแนะนำให้ลองหาข้อมูลได้จากใน google หรือซื้อหนังสือสอนเขียน php มาศึกษาดูครับ หากมีปัญหาใดๆ ผมยินดีให้คำปรึกษาเสมอครับ ถามกันเข้ามาได้ ถ้าผมตอบได้ผมจะตอบให้นะครับ

    ขอบคุณเว็บ http://rije.exteen.com/20090221/php